ทางแก้ ..เมื่อตัวน้อยไม่ยอมหม่ำข้าว

          ปัญหาอีกอย่างของคนเป็นพ่อเป็นแม่คือ ลูกน้อยไม่ค่อยยอมกินข้าว ซึ่งปัญหานี้จะพบได้กับเด็กแทบทุกคน โดยหนูน้อยวัย 9-11 เดือนจะเริ่มมีพัฒนาการในการเลือกรับประทานต้องการหยิบจับอะไรเอง ไม่อยากให้ใครมายุ่งไม่ต้องการให้ใครมาคอยป้อนข้าว ดังนั้นหากคุณพ่อคุณแม่ พยายามป้อนอาหารเมื่อไหร่ จะมีการงอแงเกิดขึ้นทันที สำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 1 ขวบจะเริ่มเคลื่อนไหวเองได้แล้ว

ดังนั้นหนูน้อยจะมีการเริ่มหยิบจับหาอะไรมาใส่ปากด้วยตัวเอง ดังนั้นช่วงเวลานี้พ่อแม่ควรเฝ้าระวังคอยสังเกตว่าลูกน้อยมีการหยิบจับอะไรที่ไม่ใช่อาหารเข้าปากหรือไม่ เพื่อป้องกันอันตราย และในช่วงวัยนี้ลูกน้อยจะไม่ค่อยยอมให้พ่อแม่ป้อน จะไม่ค่อยยอมกินข้าว คุณพ่อคุณแม่ไม่ต้องตกใจเพราะอาการแบบนี้จะเกิดไม่นานก็จะหายไปเอง แต่อาจต้องสังเกตอาการอื่นร่วมด้วยว่าที่ลูกไม่ยอมกินข้าวเป็นเพราะไม่สบายหรือเปล่าด้วยนะจ๊ะ

          สำหรับปัญหาที่ลูกไม่ยอมกินข้าวนั้นมีหลายสาเหตุด้วยกัน อาจจะมาจากไม่ชอบอาหารรสชาตินี้ ไม่เคยกินมาก่อนเลยไม่อยากลองกินของใหม่ หรือเด็กบางคนก็เริ่มเลือกกินเฉพาะอาหารที่ตัวเองชอบ

  • สำหรับเด็กที่กินอาหารยาก เลือกกินอาหารเฉพาะที่ชอบอาจมีสาเหตุมาจากไม่ชอบกลิ่น ไม่ชอบรสชาติ ดังนั้นพ่อแม่ควรสังเกตพฤติกรรมการกินของลูก และคอยดูแลให้ลูกทานอาหารให้ได้ทุกอย่างอย่าพยายามตามใจ เพราะจะมีในอนาคตที่กลายเป็นเด็กเลือกกิน อาจทำให้ได้รับสารอาหารไม่ครบ
  • เด็กบางคนมักจะไม่ชอบกินอาหารในรสชาติที่ไม่คุ้นเคย ถ้ามีอาหารใหม่ๆมาให้ลองกินมักจะปฏิเสธ พ่อแม่ควรมีการหาวิธีการให้ลูกได้ลองกินอะไรใหม่ๆ เพื่อที่จะได้มีอาหารหลากหลายให้เลือกรับประทาน อย่าพยายามตามใจลูกเพราะนิสัยเหล่านี้จะมีผลต่ออนาคตในการเลือกกินของลูก
  • บางคนที่ไม่ยอมกินอาหารเพราะมีการแพ้อาหาร ซึ่งจะสังเกตได้ว่าเด็กบางคนแพ้ไข่ บางคนแพ้นมวัว บางคนแพ้ถั่วหรืออาหารทะเล ดังนั้น พ่อแม่ควรสังเกตอาการของลูกทุกครั้ง เพราะหากลูกน้อยไม่ยอมกินอาหารเพราะแพ้แต่พ่อแม่ยังบังคับให้กิน อาจมีอันตรายต่อชีวิตได้

หากลูกน้อยไม่ยอมทานอาหาร พ่อแม่ควรหาวิธีกระตุ้นให้ลูกมีความสนใจในอาหารก่อน เช่นอาจจะให้ลูกลองหยิบอาหารกินเองโดยมีพ่อแม่คอยดูแลอยู่ใกล้ เมื่อลูกมีการกินอาหารควรมีการชมทันที่จะทำให้ลูกรู้สึกอยากกินอาหารอีก  แต่หากลูกไม่ยอมทานอาหารไม่ควรตีหรือทำโทษแต่ควรโน้มน้าวด้วยวิธีการอื่นเช่น ตักอาหารกินให้ลูกเห็นแสดงท่าทางว่าอาหารอร่อยมากแค่ไหน หรือให้ลูกลองตักอาหารจากจานของพ่อแม่ก็ได้ อยากให้ลูกกินอาหารอย่าลืมจัดจานให้สวย น่ารัก น่ากิน และควรฝีกให้ลูกน้อยรับประทานอาหารให้เป็นเวลา

          ปัญหาอีกอย่างของคนเป็นพ่อเป็นแม่คือ ลูกน้อยไม่ค่อยยอมกินข้าว ซึ่งปัญหานี้จะพบได้กับเด็กแทบทุกคน โดยหนูน้อยวัย 9-11 เดือนจะเริ่มมีพัฒนาการในการเลือกรับประทานต้องการหยิบจับอะไรเอง ไม่อยากให้ใครมายุ่งไม่ต้องการให้ใครมาคอยป้อนข้าว ดังนั้นหากคุณพ่อคุณแม่ พยายามป้อนอาหารเมื่อไหร่ จะมีการงอแงเกิดขึ้นทันที สำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 1 ขวบจะเริ่มเคลื่อนไหวเองได้แล้ว ดังนั้นหนูน้อยจะมีการเริ่มหยิบจับหาอะไรมาใส่ปากด้วยตัวเอง ดังนั้นช่วงเวลานี้พ่อแม่ควรเฝ้าระวังคอยสังเกตว่าลูกน้อยมีการหยิบจับอะไรที่ไม่ใช่อาหารเข้าปากหรือไม่ เพื่อป้องกันอันตราย และในช่วงวัยนี้ลูกน้อยจะไม่ค่อยยอมให้พ่อแม่ป้อน จะไม่ค่อยยอมกินข้าว คุณพ่อคุณแม่ไม่ต้องตกใจเพราะอาการแบบนี้จะเกิดไม่นานก็จะหายไปเอง แต่อาจต้องสังเกตอาการอื่นร่วมด้วยว่าที่ลูกไม่ยอมกินข้าวเป็นเพราะไม่สบายหรือเปล่าด้วยนะจ๊ะ

          สำหรับปัญหาที่ลูกไม่ยอมกินข้าวนั้นมีหลายสาเหตุด้วยกัน อาจจะมาจากไม่ชอบอาหารรสชาตินี้ ไม่เคยกินมาก่อนเลยไม่อยากลองกินของใหม่ หรือเด็กบางคนก็เริ่มเลือกกินเฉพาะอาหารที่ตัวเองชอบ

  • สำหรับเด็กที่กินอาหารยาก เลือกกินอาหารเฉพาะที่ชอบอาจมีสาเหตุมาจากไม่ชอบกลิ่น ไม่ชอบรสชาติ ดังนั้นพ่อแม่ควรสังเกตพฤติกรรมการกินของลูก และคอยดูแลให้ลูกทานอาหารให้ได้ทุกอย่างอย่าพยายามตามใจ เพราะจะมีในอนาคตที่กลายเป็นเด็กเลือกกิน อาจทำให้ได้รับสารอาหารไม่ครบ
  • เด็กบางคนมักจะไม่ชอบกินอาหารในรสชาติที่ไม่คุ้นเคย ถ้ามีอาหารใหม่ๆมาให้ลองกินมักจะปฏิเสธ พ่อแม่ควรมีการหาวิธีการให้ลูกได้ลองกินอะไรใหม่ๆ เพื่อที่จะได้มีอาหารหลากหลายให้เลือกรับประทาน อย่าพยายามตามใจลูกเพราะนิสัยเหล่านี้จะมีผลต่ออนาคตในการเลือกกินของลูก
  • บางคนที่ไม่ยอมกินอาหารเพราะมีการแพ้อาหาร ซึ่งจะสังเกตได้ว่าเด็กบางคนแพ้ไข่ บางคนแพ้นมวัว บางคนแพ้ถั่วหรืออาหารทะเล ดังนั้น พ่อแม่ควรสังเกตอาการของลูกทุกครั้ง เพราะหากลูกน้อยไม่ยอมกินอาหารเพราะแพ้แต่พ่อแม่ยังบังคับให้กิน อาจมีอันตรายต่อชีวิตได้

หากลูกน้อยไม่ยอมทานอาหาร พ่อแม่ควรหาวิธีกระตุ้นให้ลูกมีความสนใจในอาหารก่อน เช่นอาจจะให้ลูกลองหยิบอาหารกินเองโดยมีพ่อแม่คอยดูแลอยู่ใกล้ เมื่อลูกมีการกินอาหารควรมีการชมทันที่จะทำให้ลูกรู้สึกอยากกินอาหารอีก  แต่หากลูกไม่ยอมทานอาหารไม่ควรตีหรือทำโทษแต่ควรโน้มน้าวด้วยวิธีการอื่นเช่น ตักอาหารกินให้ลูกเห็นแสดงท่าทางว่าอาหารอร่อยมากแค่ไหน หรือให้ลูกลองตักอาหารจากจานของพ่อแม่ก็ได้ อยากให้ลูกกินอาหารอย่าลืมจัดจานให้สวย น่ารัก น่ากิน และควรฝีกให้ลูกน้อยรับประทานอาหารให้เป็นเวลา

 

สนับสนุนโดย  bk8